วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2555

หน่วยที่ 4


ซอฟต์แวร์ (software)


    ซอฟต์แวร์ คือการลำดับขั้นตอนของการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้่อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการ เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารถสร้าง จัดเก็บและนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิดเช่นแผ่นบันทึก แฟล็ชไดร์ฟ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น






หน้าที่ของซอฟต์แวร์

    ซอฟต์แวร์ทำหน้าที่เป้นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท

  ประเภทของซอฟต์แวร์



ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ

ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software )

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

และซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ



                    1.ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software )


ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบหน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ คือการทำงานพื้นฐานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอัคระแล้วแปรความหมายให้เครื่องคอมพิวเตอร์ เข้าใจนำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกๆไปยังเครื่องพิมพ์จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง



System Software  หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดี DOS , WINDOWS ,Unix.linux รสมทั้งโปรแกรมที่เขียนในระดับสูง เช่นภาษา Baic,fortran,pascanl,cobol,c เป็นต้น

นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบ เช่น  Norton s utilties  ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน

 

หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ 


1) ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออกเช่นรับรู้การส่งแป้นต่างๆบนแผงแป้นอักขระัส่งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ติดต่อจากอุปกรณ์รับเข้าและส่่งออกอื่นๆเช่นเมาส์ ลำโพงเป็นต้น

2) ใช้ในการจัดการหน่วยความจำเพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลักหรือในทำนองกลับกันคือนำข้อมูลจากหน่วยความจำมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก

3)ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้่กับเครืืองคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่นการขอดูรายงานในสารบบ( directory ) ในแผ่นยบันทึกการทำสำเนาแฟ้มข้อมูล

ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการ และตัวแปลภาษา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น